ประชาสัมพันธ์

รับตรงทั่วประเทศ ม.วลัยลักษณ์ 2556


ข้อมูลการรับนักศึกษา
รายละเอียดการรับสมัคร | การสอบสัมภาษณ์และยืนยันสิทธิ์
 ด้วยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มีนโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษาให้นักเรียนทั่วประเทศได้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประเภทรับตรง โดยไม่มีการสอบข้อเขียนเพียงแต่ต้องมีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด โดยเปิดรับสมัครนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า เพื่อคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง ประจำปีการศึกษา 2556 โดยมีรายละเอียดดังนี้
วิธีการรับเข้าศึกษา
 มหาวิทยาลัยจะดำเนินการรับสมัครบุคคลเพื่อคัดเลือกเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง ประจำปีการศึกษา 2556 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ถึง วันที่ 8 พฤษภาคม 2556 โดยจะรับนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 หรือเทียบเท่าของโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศไทย และผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
จำนวนรับเข้าศึกษา
 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์รับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง ประจำปีการศึกษา 2556 จำแนกตามสำนักวิชาและหลักสูตร ดังนี้
สำนักวิชา/หลักสูตรจำนวนรับGPAX
4-6
ภาคเรียน
เกณฑ์กลุ่มสาระการเรียนรู้
จำนวน
หน่วยกิต
กลุ่ม
วิทยาศาสตร์
จำนวน
หน่วยกิต
กลุ่ม
คณิตศาสตร์
สำนักวิชาวิทยาศาสตร์


  • วิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ



  • 302.75≥ 15≥ 8
    รวม30
    สำนักวิชาศิลปศาสตร์ (เฉพาะหลักสูตรภาษาอังกฤษ ใช้คะแนน GAT ประกอบการพิจารณา)


  • ภาษาอังกฤษ



  • 402.50--


  • ภาษาจีน



  • 702.00--


  • อาเซียนศึกษา



  • 502.00--


  • รัฐศาสตร์



  • 502.50--


  • ไทยศึกษาบูรณาการ



  • 402.00--
    รวม250
    สำนักวิชาการจัดการ


  • บัญชี



  • 803.00-≥ 10


  • บริหารธุรกิจ



  • 1602.50-≥ 8


  • อุตสาหกรรมท่องเที่ยว



  • 702.50--


  • เศรษฐศาสตร์



  • 702.75-≥ 10
    รวม380
    สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์


  • นิเทศศาสตร์



  • 802.00--


  • เทคโนโลยีสารสนเทศ



  • 502.50≥ 15 หรือ ≥ 8


  • การจัดการสารสนเทศดิจิทัล



  • 502.00--


  • เทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชั่น



  • 602.00--


  • วิศวกรรมซอฟแวร์



  • 502.75≥ 15 หรือ ≥ 8
    รวม290
    สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร


  • เกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์)



  • 302.25≥ 15≥ 8


  • เกษตรศาสตร์ (สัตวศาสตร์)



  • 252.25≥ 15≥ 8


  • เกษตรศาสตร์ (ประมง)



  • 302.25≥ 15≥ 8


  • อุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีอาหาร)



  • 602.50≥ 15≥ 8


  • อุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีชีวภาพ)



  • 202.50≥ 15≥ 8
    รวม165
    สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร


  • วิศวกรรมโยธา



  • 302.40≥ 15≥ 8


  • วิศวกรรมไฟฟ้า



  • 302.40≥ 15≥ 8


  • วิศวกรรมเคมีและกระบวนการ



  • 302.40≥ 15≥ 8


  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม



  • 302.40≥ 15≥ 8


  • วิศวกรรมวัสดุ (พอลิเมอร์ ไม้)



  • 302.40≥ 15≥ 8


  • วิศวกรรมคอมพิวเตอร์



  • 302.40≥ 15≥ 8


  • เทคโนโลยีการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง



  • 302.40≥ 15≥ 8
    รวม210
    สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ (ใช้คะแนน GAT, PAT1, PAT2 ประกอบการพิจารณา)


  • เทคนิคการแพทย์



  • 453.00≥ 15≥ 8


  • อนามัยสิ่งแวดล้อม



  • 453.00≥ 15≥ 8


  • อาชีวอนามัยและความปลอดภัย



  • 453.00≥ 15≥ 8


  • กายภาพบำบัด



  • 453.25≥ 15≥ 8
    รวม180
    สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์


  • พยาบาลศาสตร์



  • 303.00≥ 15≥ 8
    รวม30
    สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ (ใช้คะแนน GAT และ PAT4 ประกอบการพิจารณา)


  • สถาปัตยกรรม



  • 302.50≥ 15 หรือ ≥ 8


  • การออกแบบอุตสาหกรรม



  • 302.50--
    รวม60
      หมายเหตุ
    • เกณฑ์กลุ่มสาระการเรียนรู้ หมายถึง จะต้องเรียนรายวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้และมีจำนวนหน่วยกิต ตามที่แต่ละหลักสูตรกำหนด
    • สำหรับผู้สมัครหลักสูตรอุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีชีวภาพ) จะมีผลการเรียน (GPAX) ในกลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 2.75ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
    • สำหรับผู้สมัครหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ จะมีผลการเรียน (GPAX) ในกลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 3.00 ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
    • หลักสูตรสถาปัตยกรรม และหลักสูตรการออกแบบอุตสาหกรรม จะจัดสอบสัมภาษณ์ พร้อมแสดงแฟ้มผลงานทางศิลปะ สอบความถนัดทางสถาปัตยกรรม หรือการออกแบบอุตสาหกรรม และทดสอบความรู้พื้นฐานทางด้านภาษาอังกฤษ ในวันสอบสัมภาษณ์
    • ผู้สมัครของบางสำนักวิชา/หลักสูตร จะต้องใช้คะแนน GAT/PAT ประกอบการพิจารณาการสมัครและสอบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย
      • สำนักวิชาศิลปศาสตร์ หลักสูตรภาษาอังกฤษ ใช้เฉพาะคะแนน GAT (ความถนัดทั่วไป)
      • สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ ทุกหลักสูตร ใช้ GAT 20% PAT1 20% และ PAT2 60% (ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา วิชาละ 20%)
      • สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ทุกหลักสูตร ใช้คะแนน GAT และ PAT4
    คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร
    • คุณสมบัติของผู้สมัคร
    • ต้องเป็นผู้ที่อยู่ในประเทศไทยอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
    • ต้องเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าทั่วประเทศ
    • ต้องเป็นผู้มีร่างกายและสุขภาพจิตสมบูรณ์ กล่าวคือไม่เป็นผู้ไร้ความสามารถและจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ และต้องมีบุคลิกภาพที่คณะกรรมการคัดเลือกฯ เห็นว่าไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา และการประกอบอาชีพ
    • ไม่เป็นผู้ติดยาเสพติด หรือมีประวัติเกี่ยวกับยาเสพติดทุกประเภท
    การรับสมัคร
     รับสมัครผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้สมัครสามารถเข้าไปศึกษารายละเอียดพร้อมทั้ง กรอกใบสมัครออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ www.wu.ac.th และปฏิบัติตามขั้นตอนที่แจ้งไว้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม 2556

    Blogger Comment
    Facebook Comment

    :ambivalent:
    :angry:
    :confused:
    :content:
    :cool:
    :crazy:
    :cry:
    :embarrassed:
    :footinmouth:
    :frown:
    :gasp:
    :grin:
    :heart:
    :hearteyes:
    :innocent:
    :kiss:
    :laughing:
    :minifrown:
    :minismile:
    :moneymouth:
    :naughty:
    :nerd:
    :notamused:
    :sarcastic:
    :sealed:
    :sick:
    :slant:
    :smile:
    :thumbsdown:
    :thumbsup:
    :wink:
    :yuck:
    :yum:

    loading...

    Facebook

    นิยม

    บทความ

    loading...