วาไรตี้
ประชาสัมพันธ์
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ 190 คน แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ 190 คน แสดงบทความทั้งหมด

ม.บูรพา รับตรง ปวส. 1,190 คน


การสอบคัดเลือกบุคคล ที่จบ ปวส. หรือเทียบเท่า เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีการศึกษา2553

ปฏิทินการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง ประจำปีการศึกษา 2553

รายการ

สถานที่

วัน เดือน ปี

เวลา

ดาวน์โหลดใบสมัคร

หรือขอรับใบสมัคร

ได้ที่กองบริการการศึกษา

เว็บไซต์ กองบริการการศึกษา

http://service.buu.ac.th

23 กันยายน2552 – 17มกราคม 2553

08.30.เป็นต้นไป

การสมัครทางไปรษณีย์ ส่งใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานมาที่กองบริการการศึกษา 1 ตุลาคม2552 – 8มกราคม 2553

-

การสมัครด้วยตนเอง ชั้น 1 ห้องโถง อาคาร ภปร. 16-17มกราคม 2553 09.00–16.00.
ประกาศแผนผังที่นั่งสอบ ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1

http://service.buu.ac.th

22 มกราคม2553

09.00.เป็นต้นไป

สอบข้อเขียน มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี 6 กุมภาพันธ์2553 09.00.เป็นต้นไป
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบข้อเขียนและอันดับสำรอง ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1

http://service.buu.ac.th

13 กุมภาพันธ์2553 09.00.
สอบสัมภาษณ์ ณ มหาวิทยาลัยบูรพา 6 มีนาคม2553 09.00 – 12.00.
ประกาศผลขั้นสุดท้ายและอันดับสำรอง ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1

http://service.buu.ac.th

16 มีนาคม255309.00.
รายงานตัวนิสิต มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี 20 มีนาคม2553

09.00 – 16.00.

ประกาศรายชื่ออันดับสำรอง ให้มารายงานตัวและปฐมนิเทศ ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1http://service.buu.ac.th ในวันที่ 21 มีนาคม 2553 09.00 – 12.00 .

หมายเหตุ

1. ปฏิทินการสมัครสอบคัดเลือกอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

2. มหาวิทยาลัยจะประกาศรายชื่อผู้ติดอันดับสำรองเพื่อรายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553เวลา 09.00 เป็นต้นไป และให้ผู้ที่ติดอันดับสำรองมารายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553 เวลา09.00-12.00 . ณ งานทะเบียนและสถิตินิสิต อาคาร ภปร. ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา และปฐมนิเทศนิสิตใหม่ เวลา 09.00 – 12.00 .

มหาวิทยาลัยบูรพา ประกาศสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง

ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.. 2545มหาวิทยาลัยบูรพา จะรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีการศึกษา 2553 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. คุณวุฒิและคุณสมบัติของผู้สมัคร

1.1 คุณสมบัติทั่วไป

1.1.1 ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่สังคมรังเกียจและ / หรือโรคสำคัญที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

1.1.2 ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือพ้นสภาพการเป็นนิสิตหรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใดมาก่อน

1.1.3 ไม่เคยต้องโทษตามคำพิพากษาของศาล เว้นแต่ในกรณีโทษนั้นเกิดจากความผิดอันกระทำโดยประมาทหรือความผิดอันเป็นลหุโทษ

1.2 คุณสมบัติเฉพาะสาขา

1.2.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

1.2.1.1 สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา ปริญญาตรีหรือสูงกว่าทุกสาขาวิชา

1.2.1.2 สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญา ทางด้านการบัญชี การตลาด การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ธุรกิจพาณิชยนาวี คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาอื่นที่มีประสบการณ์ด้านพาณิชยนาวี

1.2.2 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

1.2.2.1 สาขาวิชาการบัญชี ภาคพิเศษ ( เรียนวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 13.00-20.00 .)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิชาเอกการบัญชี

1.2.2.2 สาขาวิชาการบัญชี ภาคพิเศษ ( เรียนวันเสาร์-อาทิตย์)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิชาเอกการบัญชี

1.2.3 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

1.2.3.1 สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) อนุปริญญาหรือเทียบเท่าขึ้นไป ทุกสาขาวิชา

1.2.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

เรียนวันศุกร์ เวลา 17.00 . เป็นต้นไป และเรียนวันเสาร์ วันอาทิตย์ เวลา 08.00 . เป็นต้นไป

1.2.4.1 สาขาวิชาภูมิศาสตร์

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา

1.2.4.2 สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา

1.2.5 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต

1.2.5.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาคปกติ เรียนวันจันทร์ วันศุกร์ เวลา 08.00 – 17.00 .

ภาคพิเศษ เรียนวันศุกร์ เวลา 17.00 – 22.00 .

เรียนวันเสาร์ วันอาทิตย์ เวลา 08.00 – 22.00 .

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) สาขาไฟฟ้า สาขาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ สาขาคอมพิวเตอร์ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจหรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาข้างต้น หรือปริญญาตรีที่ผ่านการเรียนคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย 6 หน่วยกิต และเคยเรียนวิชาหลักการเขียนโปรแกรม

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว

1.2.6 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต

1.2.6.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศสระแก้ว)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญาทุกสาขาวิชา และต้องมีความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์

1.2.7 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

1.2.7.1 สาขาวิชาการตลาด (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญาทุกสาขาวิชา

1.2.8 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

1.2.8.1 สาขาวิชาการบริหารทั่วไป (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญาทุกสาขาวิชา

หากปรากฏภายหลังว่าผู้สมัครสอบขาดคุณสมบัติทั่วไปหรือคุณสมบัติเฉพาะในการศึกษาสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งอยู่ก่อนทำการสมัครสอบคัดเลือก จะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบคัดเลือกครั้งนี้ และแม้จะได้รับการรายงานตัวเข้าศึกษาแล้วก็ตาม จะต้องถูกถอนสภาพจากการเป็นนิสิตทันที หรือแม้สำเร็จการศึกษาแล้วก็อาจถูกเพิกถอนปริญญาบัตรได้

2. ขั้นตอนการสมัครสอบ

2.1 การสมัครทางไปรษณีย์

2.1.1 ดาวน์โหลดใบสมัครมหาวิทยาลัยบูรพา ที่เว็บไซต์ กองบริการการศึกษาhttp://service.buu.ac.th หรือ ขอรับใบสมัครได้ที่ อาคาร ภปร. ห้อง 108 มหาวิทยาลัยบูรพาระหว่างวันที่ 23 กันยายน 2552 – 17 มกราคม 2553

2.1.2 ศึกษาระเบียบการ และจัดเตรียมหลักฐานประกอบการสมัคร (ดูรายละเอียดในข้อ 4)พร้อมทั้งกรอกข้อความต่าง ๆ ในใบสมัครให้ครบทุกส่วน

2.1.3 ส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานประกอบการสมัครตามข้อ 4 มาที่ กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 169 .ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131 รวมทั้งเงินค่าสมัครสอบจำนวน 500 บาท โดยสั่งจ่ายธนาณัติ ปท.. มหาวิทยาลัยบูรพา ในนาม ผู้อำนวยการกองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131ภายในวันที่ 8 มกราคม 2553 (ถือวันประทับตราไปรษณีย์เป็นสำคัญ)

2.1.4 ผู้สมัครสามารถสมัครได้เพียง 1 สาขาวิชา

2.1.5 ผู้สมัครต้องเขียนชื่อ ที่อยู่ รหัสไปรษณีย์ และรหัสสาขาในใบสมัครให้ชัดเจน มหาวิทยาลัยจะจัดส่งบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2) มายังผู้สมัครสอบได้สะดวก

หมายเหตุ - เอกสารทุกอย่างให้ส่งเป็น EMS ด่วนพิเศษ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการสูญหาย

- หากผู้สมัครส่งหลักฐานการสมัครไม่ครบถ้วน มหาวิทยาลัยบูรพาจะไม่พิจารณาคัดเลือก

- เงินค่าสมัครและหลักฐานต่าง ๆ มหาวิทยาลัยจะไม่คืนให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ

- หากทำการสมัครสอบคัดเลือกแล้ว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสาขาวิชาที่สมัครได้

2.2 การสมัครด้วยตนเอง

2.2.1 ดาวน์โหลดใบสมัครมหาวิทยาลัยบูรพา ที่เว็บไซต์ กองบริการการศึกษาhttp://service.buu.ac.th หรือ ขอรับใบสมัครได้ที่ อาคาร ภปร. ห้อง 108 มหาวิทยาลัยบูรพาระหว่างวันที่ 23 กันยายน 2552 – 17 มกราคม 2553

2.2.2 ศึกษาระเบียบการ และจัดเตรียมหลักฐานประกอบการสมัคร (ดูรายละเอียดในข้อ 4)พร้อมทั้งกรอกข้อความต่าง ๆ ในใบสมัครให้ครบทุกส่วน

2.2.3 สมัครด้วยตนเอง พร้อมหลักฐานประกอบการสมัครตามข้อ 4 ระหว่างวันที่ 16 - 17มกราคม 2553 ณ อาคาร ภปร. ห้องโถง ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา

2.2.4 การแต่งกายเพื่อการสมัครสอบคัดเลือกให้แต่งกายชุดนักศึกษาหรือชุดสุภาพ ห้ามใส่เสื้อยืดกางเกงยีนส์และสวมรองเท้าแตะ

หมายเหตุ - เงินค่าสมัครและหลักฐานต่าง ๆ มหาวิทยาลัยจะไม่คืนให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ หากตรวจสอบพบว่าผู้สมัครส่งหลักฐานการสมัครไม่ครบถ้วน มหาวิทยาลัยบูรพาจะไม่พิจารณารับสมัคร

- หากทำการสมัครสอบคัดเลือกแล้ว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสาขาวิชาที่สมัครได้

เมื่อมหาวิทยาลัยได้รับใบสมัครพร้อมหลักฐานประกอบการสมัครแล้ว จะดำเนินการตรวจสอบหลักฐานออกบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2) ซึ่งถือว่าเป็นใบเสร็จรับเงินค่าสมัครสอบด้วย ผู้สมัครจะต้องเก็บบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2) ไว้เป็นหลักฐาน ถ้าหากบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือกสูญหายจะหมดสิทธิ์ในการสอบ

3. ค่าใช้จ่ายในการสมัครสอบ

3.1 การสมัครสอบคัดเลือกด้วยตนเอง ค่าสมัครสอบ 500 บาท

3.2 การสมัครสอบคัดเลือกทางไปรษณีย์ ค่าสมัครสอบ 500 บาท

4. หลักฐานประกอบการสมัครสอบ

ผู้สมัครสอบจะต้องเตรียมหลักฐานต่าง ๆ มาให้พร้อมในวันรับสมัคร ดังต่อไปนี้

4.1 ประเภทการสมัครทางไปรษณีย์

4.1.1 ใบสมัครสอบของมหาวิทยาลัย

4.1.2 ใบแสดงคุณวุฒิ เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ใบแจ้งวุฒิหรือใบรับรองการศึกษาภาคเรียนสุดท้ายที่รับรองสำเนาถูกต้อง

4.1.3 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่รับรองสำเนาถูกต้อง

4.1.4 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ เป็นภาพสี และถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6เดือนนับถึงวันสมัคร ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 4 รูป (ติดในใบสมัคร 1 รูป และอีก 3 รูป แนบมาเพื่อติดในบัตรเลขที่นั่งสอบหลังรูปถ่ายให้เขียนชื่อ นามสกุลด้วย)

4.1.5 ธนาณัติจำนวน 500 บาท โดยสั่งจ่ายธนาณัติ ปท.. มหาวิทยาลัยบูรพา ในนาม

ผู้อำนวยการกองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี20131

4.1.6 สำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ หรือนามสกุล หลักฐานการสมรส (ถ้ามี)

4.2 ประเภทการสมัครด้วยตนเอง

4.2.1 ใบสมัครสอบของมหาวิทยาลัย

4.2.2 ใบแสดงคุณวุฒิ เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ใบแจ้งวุฒิหรือใบรับรองการศึกษาภาคเรียนสุดท้ายฉบับจริงพร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

4.2.3 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่รับรองสำเนาถูกต้องพร้อมฉบับจริง

4.2.4 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ เป็นภาพสี และถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6เดือนนับถึงวันสมัคร ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 4 รูป (ติดในใบสมัคร 1 รูป และอีก 3 รูป แนบมาเพื่อติดในบัตรเลขที่นั่งสอบหลังรูปถ่ายให้เขียนชื่อ นามสกุลด้วย)

4.2.5 สำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ หรือนามสกุล หลักฐานการสมรส (ถ้ามี)

ในกรณีที่ผู้สมัครสอบใช้ใบรับรองการศึกษาภาคเรียนสุดท้ายเป็นใบแสดงคุณวุฒินั้น ถ้าหากสอบคัดเลือกได้จะต้องนำหลักฐานแสดงคุณวุฒิที่สำเร็จการศึกษาก่อนวันที่ 20 มีนาคม 2552 มารายงานตัวเท่านั้น มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิ์ในการรับรายงานตัวเป็นนิสิต

** ในวันสอบให้ผู้เข้าสอบแสดงบัตรเลขที่นั่งสอบ (มบ.2) และบัตรประจำตัวประชาชน ต่อกรรมการคุมสอบ ** มิฉะนั้นจะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบ

5. จำนวนรับเข้าศึกษาและการสอบคัดเลือก รวม 1,190 คน

หมายเหตุ มหาวิทยาลัยจะประกาศรายชื่อผู้ติดอันดับสำรองเพื่อรายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม2553 เวลา 09.00 เป็นต้นไป และให้ผู้ที่ติดอันดับสำรองมารายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553เวลา 09.00-12.00 . ณ งานทะเบียนและสถิตินิสิต อาคาร ภปร. ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา และปฐมนิเทศนิสิตใหม่ เวลา 09.00 – 12.00 .

6. การประกาศผลการสอบคัดเลือก

6.1 ประกาศรายชื่อผู้สอบผ่านข้อเขียนและอันดับสำรอง มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 09.00 . ณ อาคาร ภปร. มหาวิทยาลัยบูรพา และhttp://service.buu.ac.th

6.2 สอบสัมภาษณ์ วันที่ 6 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 . - 12.00 . ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี

6.3 ประกาศผลขั้นสุดท้ายและอันดับสำรอง

วันที่ 16 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 . ณ อาคาร ภปร. มหาวิทยาลัยบูรพา และhttp://service.buu.ac.th

7. เอกสารที่นำมาในวันสอบสัมภาษณ์

7.1 ใบแสดงคุณวุฒิฉบับจริง

7.2 บัตรประชาชนฉบับจริง

7.3 บัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2)

8. การรายงานตัว

8.1 ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนิสิต จะต้องนำหลักฐานต่าง ๆ ไปรายงานตัวต่องานทะเบียนและสถิตินิสิตเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต และชำระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยบูรพา ในวันที่ 20 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 เป็นต้นไป น. ณ มหาวิทยาลัยบูรพา

8.2 ถ้าผู้ที่ได้รับคัดเลือกไม่มารายงานตัวและชำระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ภายในวันและเวลาที่กำหนดในข้อ 8.1 จะถือว่าผู้นั้นสละสิทธิ์ในการเข้าเป็นนิสิต

8.3 ผู้ที่ติดในอันดับสำรอง จะประกาศให้มารายงานตัววันที่ 21 มีนาคม 2553 เวลา 09.00เป็นต้นไป ให้มารายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553 เวลา 09.00-12.00 . ณ งานทะเบียนและสถิตินิสิต อาคาร ภปร.ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา และปฐมนิเทศนิสิตใหม่ เวลา 09.00 – 12.00 .

9. หลักฐานที่ต้องนำไปยื่นในวันรายงานตัว

9.1 ใบแสดงคุณวุฒิที่แสดงว่าสำเร็จการศึกษาก่อนวันที่ 20 มีนาคม 2553 พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

9.2 บัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรประจำตัวข้าราชการ พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

9.3 ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

9.4 ใบรับรองแพทย์

9.5 รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป (สำหรับติดบัตร) สวมเสื้อเชิ้ตขาวหรือชุดสากลหรือเครื่องแบบข้าราชการ(เป็นรูปสี)

9.6 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ นามสกุล (ถ้ามี) ฉบับจริง พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

รายละเอียดของวิชาที่จะสอบคัดเลือก

ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา เลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131โทรศัพท์ : 0-3810-2709, 0-3810-2710, 0-3839-0520 โทรสาร : 0-3874-5794

http://service.buu.ac.th , www.buu.ac.th

ม.บูรพา รับตรง ปวส. 1,190 คน


การสอบคัดเลือกบุคคล ที่จบ ปวส. หรือเทียบเท่า เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีการศึกษา2553

ปฏิทินการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง ประจำปีการศึกษา 2553

รายการ

สถานที่

วัน เดือน ปี

เวลา

ดาวน์โหลดใบสมัคร

หรือขอรับใบสมัคร

ได้ที่กองบริการการศึกษา

เว็บไซต์ กองบริการการศึกษา

http://service.buu.ac.th

23 กันยายน2552 – 17มกราคม 2553

08.30.เป็นต้นไป

การสมัครทางไปรษณีย์ ส่งใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานมาที่กองบริการการศึกษา 1 ตุลาคม2552 – 8มกราคม 2553

-

การสมัครด้วยตนเอง ชั้น 1 ห้องโถง อาคาร ภปร. 16-17มกราคม 2553 09.00–16.00.
ประกาศแผนผังที่นั่งสอบ ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1

http://service.buu.ac.th

22 มกราคม2553

09.00.เป็นต้นไป

สอบข้อเขียน มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี 6 กุมภาพันธ์2553 09.00.เป็นต้นไป
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบข้อเขียนและอันดับสำรอง ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1

http://service.buu.ac.th

13 กุมภาพันธ์2553 09.00.
สอบสัมภาษณ์ ณ มหาวิทยาลัยบูรพา 6 มีนาคม2553 09.00 – 12.00.
ประกาศผลขั้นสุดท้ายและอันดับสำรอง ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1

http://service.buu.ac.th

16 มีนาคม255309.00.
รายงานตัวนิสิต มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี 20 มีนาคม2553

09.00 – 16.00.

ประกาศรายชื่ออันดับสำรอง ให้มารายงานตัวและปฐมนิเทศ ณ อาคาร ภปร. ชั้น 1http://service.buu.ac.th ในวันที่ 21 มีนาคม 2553 09.00 – 12.00 .

หมายเหตุ

1. ปฏิทินการสมัครสอบคัดเลือกอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้

2. มหาวิทยาลัยจะประกาศรายชื่อผู้ติดอันดับสำรองเพื่อรายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553เวลา 09.00 เป็นต้นไป และให้ผู้ที่ติดอันดับสำรองมารายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553 เวลา09.00-12.00 . ณ งานทะเบียนและสถิตินิสิต อาคาร ภปร. ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา และปฐมนิเทศนิสิตใหม่ เวลา 09.00 – 12.00 .

มหาวิทยาลัยบูรพา ประกาศสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง

ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยบูรพา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.. 2545มหาวิทยาลัยบูรพา จะรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีการศึกษา 2553 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. คุณวุฒิและคุณสมบัติของผู้สมัคร

1.1 คุณสมบัติทั่วไป

1.1.1 ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่สังคมรังเกียจและ / หรือโรคสำคัญที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

1.1.2 ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือพ้นสภาพการเป็นนิสิตหรือถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใดมาก่อน

1.1.3 ไม่เคยต้องโทษตามคำพิพากษาของศาล เว้นแต่ในกรณีโทษนั้นเกิดจากความผิดอันกระทำโดยประมาทหรือความผิดอันเป็นลหุโทษ

1.2 คุณสมบัติเฉพาะสาขา

1.2.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

1.2.1.1 สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา ปริญญาตรีหรือสูงกว่าทุกสาขาวิชา

1.2.1.2 สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญา ทางด้านการบัญชี การตลาด การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ธุรกิจพาณิชยนาวี คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาอื่นที่มีประสบการณ์ด้านพาณิชยนาวี

1.2.2 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

1.2.2.1 สาขาวิชาการบัญชี ภาคพิเศษ ( เรียนวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 13.00-20.00 .)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิชาเอกการบัญชี

1.2.2.2 สาขาวิชาการบัญชี ภาคพิเศษ ( เรียนวันเสาร์-อาทิตย์)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) วิชาเอกการบัญชี

1.2.3 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

1.2.3.1 สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) อนุปริญญาหรือเทียบเท่าขึ้นไป ทุกสาขาวิชา

1.2.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

เรียนวันศุกร์ เวลา 17.00 . เป็นต้นไป และเรียนวันเสาร์ วันอาทิตย์ เวลา 08.00 . เป็นต้นไป

1.2.4.1 สาขาวิชาภูมิศาสตร์

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา

1.2.4.2 สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าทุกสาขาวิชา

1.2.5 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต

1.2.5.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาคปกติ เรียนวันจันทร์ วันศุกร์ เวลา 08.00 – 17.00 .

ภาคพิเศษ เรียนวันศุกร์ เวลา 17.00 – 22.00 .

เรียนวันเสาร์ วันอาทิตย์ เวลา 08.00 – 22.00 .

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) สาขาไฟฟ้า สาขาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ สาขาคอมพิวเตอร์ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจหรืออนุปริญญา หรือเทียบเท่าในสาขาข้างต้น หรือปริญญาตรีที่ผ่านการเรียนคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย 6 หน่วยกิต และเคยเรียนวิชาหลักการเขียนโปรแกรม

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว

1.2.6 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต

1.2.6.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศสระแก้ว)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญาทุกสาขาวิชา และต้องมีความรู้พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์

1.2.7 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

1.2.7.1 สาขาวิชาการตลาด (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญาทุกสาขาวิชา

1.2.8 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

1.2.8.1 สาขาวิชาการบริหารทั่วไป (มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว)

- สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค(ปวท.) หรืออนุปริญญาทุกสาขาวิชา

หากปรากฏภายหลังว่าผู้สมัครสอบขาดคุณสมบัติทั่วไปหรือคุณสมบัติเฉพาะในการศึกษาสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งอยู่ก่อนทำการสมัครสอบคัดเลือก จะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบคัดเลือกครั้งนี้ และแม้จะได้รับการรายงานตัวเข้าศึกษาแล้วก็ตาม จะต้องถูกถอนสภาพจากการเป็นนิสิตทันที หรือแม้สำเร็จการศึกษาแล้วก็อาจถูกเพิกถอนปริญญาบัตรได้

2. ขั้นตอนการสมัครสอบ

2.1 การสมัครทางไปรษณีย์

2.1.1 ดาวน์โหลดใบสมัครมหาวิทยาลัยบูรพา ที่เว็บไซต์ กองบริการการศึกษาhttp://service.buu.ac.th หรือ ขอรับใบสมัครได้ที่ อาคาร ภปร. ห้อง 108 มหาวิทยาลัยบูรพาระหว่างวันที่ 23 กันยายน 2552 – 17 มกราคม 2553

2.1.2 ศึกษาระเบียบการ และจัดเตรียมหลักฐานประกอบการสมัคร (ดูรายละเอียดในข้อ 4)พร้อมทั้งกรอกข้อความต่าง ๆ ในใบสมัครให้ครบทุกส่วน

2.1.3 ส่งใบสมัครพร้อมหลักฐานประกอบการสมัครตามข้อ 4 มาที่ กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 169 .ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131 รวมทั้งเงินค่าสมัครสอบจำนวน 500 บาท โดยสั่งจ่ายธนาณัติ ปท.. มหาวิทยาลัยบูรพา ในนาม ผู้อำนวยการกองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131ภายในวันที่ 8 มกราคม 2553 (ถือวันประทับตราไปรษณีย์เป็นสำคัญ)

2.1.4 ผู้สมัครสามารถสมัครได้เพียง 1 สาขาวิชา

2.1.5 ผู้สมัครต้องเขียนชื่อ ที่อยู่ รหัสไปรษณีย์ และรหัสสาขาในใบสมัครให้ชัดเจน มหาวิทยาลัยจะจัดส่งบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2) มายังผู้สมัครสอบได้สะดวก

หมายเหตุ - เอกสารทุกอย่างให้ส่งเป็น EMS ด่วนพิเศษ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการสูญหาย

- หากผู้สมัครส่งหลักฐานการสมัครไม่ครบถ้วน มหาวิทยาลัยบูรพาจะไม่พิจารณาคัดเลือก

- เงินค่าสมัครและหลักฐานต่าง ๆ มหาวิทยาลัยจะไม่คืนให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ

- หากทำการสมัครสอบคัดเลือกแล้ว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสาขาวิชาที่สมัครได้

2.2 การสมัครด้วยตนเอง

2.2.1 ดาวน์โหลดใบสมัครมหาวิทยาลัยบูรพา ที่เว็บไซต์ กองบริการการศึกษาhttp://service.buu.ac.th หรือ ขอรับใบสมัครได้ที่ อาคาร ภปร. ห้อง 108 มหาวิทยาลัยบูรพาระหว่างวันที่ 23 กันยายน 2552 – 17 มกราคม 2553

2.2.2 ศึกษาระเบียบการ และจัดเตรียมหลักฐานประกอบการสมัคร (ดูรายละเอียดในข้อ 4)พร้อมทั้งกรอกข้อความต่าง ๆ ในใบสมัครให้ครบทุกส่วน

2.2.3 สมัครด้วยตนเอง พร้อมหลักฐานประกอบการสมัครตามข้อ 4 ระหว่างวันที่ 16 - 17มกราคม 2553 ณ อาคาร ภปร. ห้องโถง ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา

2.2.4 การแต่งกายเพื่อการสมัครสอบคัดเลือกให้แต่งกายชุดนักศึกษาหรือชุดสุภาพ ห้ามใส่เสื้อยืดกางเกงยีนส์และสวมรองเท้าแตะ

หมายเหตุ - เงินค่าสมัครและหลักฐานต่าง ๆ มหาวิทยาลัยจะไม่คืนให้ไม่ว่ากรณีใด ๆ หากตรวจสอบพบว่าผู้สมัครส่งหลักฐานการสมัครไม่ครบถ้วน มหาวิทยาลัยบูรพาจะไม่พิจารณารับสมัคร

- หากทำการสมัครสอบคัดเลือกแล้ว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสาขาวิชาที่สมัครได้

เมื่อมหาวิทยาลัยได้รับใบสมัครพร้อมหลักฐานประกอบการสมัครแล้ว จะดำเนินการตรวจสอบหลักฐานออกบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2) ซึ่งถือว่าเป็นใบเสร็จรับเงินค่าสมัครสอบด้วย ผู้สมัครจะต้องเก็บบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2) ไว้เป็นหลักฐาน ถ้าหากบัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือกสูญหายจะหมดสิทธิ์ในการสอบ

3. ค่าใช้จ่ายในการสมัครสอบ

3.1 การสมัครสอบคัดเลือกด้วยตนเอง ค่าสมัครสอบ 500 บาท

3.2 การสมัครสอบคัดเลือกทางไปรษณีย์ ค่าสมัครสอบ 500 บาท

4. หลักฐานประกอบการสมัครสอบ

ผู้สมัครสอบจะต้องเตรียมหลักฐานต่าง ๆ มาให้พร้อมในวันรับสมัคร ดังต่อไปนี้

4.1 ประเภทการสมัครทางไปรษณีย์

4.1.1 ใบสมัครสอบของมหาวิทยาลัย

4.1.2 ใบแสดงคุณวุฒิ เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ใบแจ้งวุฒิหรือใบรับรองการศึกษาภาคเรียนสุดท้ายที่รับรองสำเนาถูกต้อง

4.1.3 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่รับรองสำเนาถูกต้อง

4.1.4 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ เป็นภาพสี และถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6เดือนนับถึงวันสมัคร ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 4 รูป (ติดในใบสมัคร 1 รูป และอีก 3 รูป แนบมาเพื่อติดในบัตรเลขที่นั่งสอบหลังรูปถ่ายให้เขียนชื่อ นามสกุลด้วย)

4.1.5 ธนาณัติจำนวน 500 บาท โดยสั่งจ่ายธนาณัติ ปท.. มหาวิทยาลัยบูรพา ในนาม

ผู้อำนวยการกองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี20131

4.1.6 สำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ หรือนามสกุล หลักฐานการสมรส (ถ้ามี)

4.2 ประเภทการสมัครด้วยตนเอง

4.2.1 ใบสมัครสอบของมหาวิทยาลัย

4.2.2 ใบแสดงคุณวุฒิ เช่น ใบสุทธิ ประกาศนียบัตร ใบแจ้งวุฒิหรือใบรับรองการศึกษาภาคเรียนสุดท้ายฉบับจริงพร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

4.2.3 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่รับรองสำเนาถูกต้องพร้อมฉบับจริง

4.2.4 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ เป็นภาพสี และถ่ายมาแล้วไม่เกิน 6เดือนนับถึงวันสมัคร ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 4 รูป (ติดในใบสมัคร 1 รูป และอีก 3 รูป แนบมาเพื่อติดในบัตรเลขที่นั่งสอบหลังรูปถ่ายให้เขียนชื่อ นามสกุลด้วย)

4.2.5 สำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ หรือนามสกุล หลักฐานการสมรส (ถ้ามี)

ในกรณีที่ผู้สมัครสอบใช้ใบรับรองการศึกษาภาคเรียนสุดท้ายเป็นใบแสดงคุณวุฒินั้น ถ้าหากสอบคัดเลือกได้จะต้องนำหลักฐานแสดงคุณวุฒิที่สำเร็จการศึกษาก่อนวันที่ 20 มีนาคม 2552 มารายงานตัวเท่านั้น มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิ์ในการรับรายงานตัวเป็นนิสิต

** ในวันสอบให้ผู้เข้าสอบแสดงบัตรเลขที่นั่งสอบ (มบ.2) และบัตรประจำตัวประชาชน ต่อกรรมการคุมสอบ ** มิฉะนั้นจะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบ

5. จำนวนรับเข้าศึกษาและการสอบคัดเลือก รวม 1,190 คน

หมายเหตุ มหาวิทยาลัยจะประกาศรายชื่อผู้ติดอันดับสำรองเพื่อรายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม2553 เวลา 09.00 เป็นต้นไป และให้ผู้ที่ติดอันดับสำรองมารายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553เวลา 09.00-12.00 . ณ งานทะเบียนและสถิตินิสิต อาคาร ภปร. ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา และปฐมนิเทศนิสิตใหม่ เวลา 09.00 – 12.00 .

6. การประกาศผลการสอบคัดเลือก

6.1 ประกาศรายชื่อผู้สอบผ่านข้อเขียนและอันดับสำรอง มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 09.00 . ณ อาคาร ภปร. มหาวิทยาลัยบูรพา และhttp://service.buu.ac.th

6.2 สอบสัมภาษณ์ วันที่ 6 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 . - 12.00 . ณ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี

6.3 ประกาศผลขั้นสุดท้ายและอันดับสำรอง

วันที่ 16 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 . ณ อาคาร ภปร. มหาวิทยาลัยบูรพา และhttp://service.buu.ac.th

7. เอกสารที่นำมาในวันสอบสัมภาษณ์

7.1 ใบแสดงคุณวุฒิฉบับจริง

7.2 บัตรประชาชนฉบับจริง

7.3 บัตรเลขที่นั่งสอบคัดเลือก (มบ.2)

8. การรายงานตัว

8.1 ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนิสิต จะต้องนำหลักฐานต่าง ๆ ไปรายงานตัวต่องานทะเบียนและสถิตินิสิตเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต และชำระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยบูรพา ในวันที่ 20 มีนาคม 2553 เวลา 09.00 เป็นต้นไป น. ณ มหาวิทยาลัยบูรพา

8.2 ถ้าผู้ที่ได้รับคัดเลือกไม่มารายงานตัวและชำระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ภายในวันและเวลาที่กำหนดในข้อ 8.1 จะถือว่าผู้นั้นสละสิทธิ์ในการเข้าเป็นนิสิต

8.3 ผู้ที่ติดในอันดับสำรอง จะประกาศให้มารายงานตัววันที่ 21 มีนาคม 2553 เวลา 09.00เป็นต้นไป ให้มารายงานตัวในวันที่ 21 มีนาคม 2553 เวลา 09.00-12.00 . ณ งานทะเบียนและสถิตินิสิต อาคาร ภปร.ชั้น 1 มหาวิทยาลัยบูรพา และปฐมนิเทศนิสิตใหม่ เวลา 09.00 – 12.00 .

9. หลักฐานที่ต้องนำไปยื่นในวันรายงานตัว

9.1 ใบแสดงคุณวุฒิที่แสดงว่าสำเร็จการศึกษาก่อนวันที่ 20 มีนาคม 2553 พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

9.2 บัตรประจำตัวประชาชนหรือบัตรประจำตัวข้าราชการ พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

9.3 ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

9.4 ใบรับรองแพทย์

9.5 รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป (สำหรับติดบัตร) สวมเสื้อเชิ้ตขาวหรือชุดสากลหรือเครื่องแบบข้าราชการ(เป็นรูปสี)

9.6 หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ นามสกุล (ถ้ามี) ฉบับจริง พร้อมสำเนาถ่ายรับรองสำเนาถูกต้อง

รายละเอียดของวิชาที่จะสอบคัดเลือก

ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา เลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131โทรศัพท์ : 0-3810-2709, 0-3810-2710, 0-3839-0520 โทรสาร : 0-3874-5794

http://service.buu.ac.th , www.buu.ac.th

loading...

Facebook

นิยม

บทความ

loading...