แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ลอนดอน แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ลอนดอน แสดงบทความทั้งหมด
สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์กรุงเทพ เปิดหลักสูตรของมหาวิทยาลัยลอนดอนเป็นครั้งแรกไทย
กรุงเทพฯ - เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณหญิงขวัญตาเทวกุล ณ อยุธยา (กลาง) ภริยาองคมนตรี ฯพณฯ ม. ร. ว. เทพกมลเทวกุล ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิ ดหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลั ยลอนดอนในประเทศไทย โดยสถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้ นท์ พร้อมด้วย มร. มาร์คเคนท์เอกอัครราชทูตอั งกฤษประจำประเทศไทย (ที่สองจากขวา) และ ดร. วีระชัยเตชะวิจิตร์ (ซ้ายสุด) ประธานกรรมการสถาบันการศึ กษานานาชาติรีเจ้นท์ ซึ่งจะเปิดสอนในหลักสู ตรของคณะเศรษฐศาสตร์ การบริหารจัดการ การเงิน การบัญชี และสังคมศาสตร์ ที่ได้รับการออกแบบและควบคุมคุ ณภาพโดยโรงเรียนเศรษฐศาสตร์ และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน (London School of Economics and Political Science – LSE) ในเดือนกันยายนเป็นต้นไป นอกจากนี้ยังมี มร. คริส เจนนี่ย์ (ที่สองจากซ้าย) ประธานฝ่ายการสื่อสารสถาบั นการศึกษาสากล มหาวิทยาลัยนานาชาติลอนดอนและ มร. นิธิน ดุตตา (ขวาสุด) ผู้อำนวยการบริหารโครงการสถาบั นการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์ ร่วมเป็นเป็นเกียรติภายในงาน ณ สถานทูตอังกฤษประจำประเทศไทย
สามารถเข้าชมรายละเอียดเพิ่มเติ มเกี่ยวกับหลักสูตรของมหาวิ ทยาลัยลอนดอน ได้ที่ http://www. londoninternational.ac.uk และที่www.ricbkk.com/UOL-LSE
สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์กรุงเทพสนับสนุนตั้งหน่วยช่วยติววิชาต่างๆ ของมหาวิทยาลัยลอนดอนในเมืองไทย
· จะมีการสอนและติววิชาต่างๆในหลั กสูตรของมหาวิทยาลัยลอนดอนเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย
· สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์ จะเป็นผู้ให้การสนับสนุนการติ วการสอนให้ผู้สนใจ แม้ว่าผู้เรียนอาจจะสมั ครตรงไปที่ประเทศอังกฤษได้ เรียนเองได้ และไปสอบเองได้ที่บริติชเคาน์ เซิล
· เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้ ประสบความสำเร็จได้ง่ายกว่ าการเรียนด้วยตัวเองแก่ผู้เรี ยนชาวไทยและอาเซียนในการเข้าถึ งหลักสูตรการเรียนที่มี มาตรฐานสูงระดับชั้นนำของโลก
กรุงเทพ – วันอังคาร ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2559: สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์ เตรียมสอนและติววิชาในหลักสู ตรของมหาวิทยาลั ยลอนดอนในประเทศไทย ตั้งแต่เดือนกันยายนเป็นต้นไป ซึ่งครั้งนี้จะเป็นครั้งแรกที่ นักเรียนชาวไทยจะสามารถเข้าเรี ยนรับการติวโดยอาจารย์ที่มีคุ ณวุฒิสูงในสาขาวิชาของมหาวิ ทยาลัยลอนดอน
โดยในเดือนกันยายนนี้ สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์ จะเป็นผู้ให้การสนับสนุนการติ วการสอนในหลักสู ตรของคณะเศรษฐศาสตร์ การบริหารจัดการ การเงิน การบัญชี และสังคมศาสตร์ (เรียกว่ากลุ่มวิชา EMFSS) ซึ่งหลักสูตรทั้งหมดได้รั บการออกแบบและควบคุมคุ ณภาพโดยโรงเรียนเศรษฐศาสตร์ และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน (London School of Economics and Political Science – LSE) นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยลอนดอนยังได้อนุมัติ ให้สถาบันการศึกษานานาชาติ รีเจ้นท์สอนและติวหลักสูตรพื้ นฐานในวิชาที่สำคัญ เช่น การบัญชีและการเงิน การบริหารจัดการธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สำหรับนักเรียนที่ต้องมีพื้ นฐานเพื่อเรียนต่อในระดับปริ ญญาตรี กลุ่มวิชา EMFSS ในกรุงเทพและที่ประเทศอังกฤษ
การเปิดสอนและติวหลักสู ตรของมหาวิทยาลั ยลอนดอนโดยการนำของแอลเอสอี( LSE) ในครั้งนี้ นับเป็นนิมิตรหมายที่ดี ของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน (AEC) ของประเทศไทย เป็นการเพิ่มโอกาสการได้ ทำงานระดับสูงในระดับภูมิ ภาคสำหรับคนไทยเนื่องจากหลักสู ตรของมหาวิทยาลั ยลอนดอนโดยการออกแบบของแอลเอสอี (LSE) ได้รับการยอมรับว่าเป็นหลักสู ตรที่มีคุณภาพสูงและผู้จบหลักสู ตรเหล่านี้จะเป็นที่ต้ องการของภาคธุรกิจและภาคอุ ตสาหกรรมทั้งในและนอกประเทศ อีกทั้งหลักสูตร EMFSS ของ มหาวิทยาลัยลอนดอนโดยแอลเอสอี (LSE) จะเป็นบันไดขั้นสำคัญในการไปศึ กษาต่อระดับปริ ญญาโทและเอกในมหาวิทยาลัยที่ดั งที่สุดต้นๆ ของโลกได้
หลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลั ยลอนดอนได้เปิดให้นักเรียนจากทั ่วทุกมุมโลกเข้าเรียน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2401 มีนักเรียนและศิษย์เก่าที่ จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้ และออกไปสร้างชื่อเสียงเป็ นจำนวนมาก โดยมีศิษย์เก่าถึงเจ็ดท่านที่ ได้รับรางวัลโนเบล อาทิ เนลสัน แมนเดลา
ปัจจุบันหลักสูตรการศึ กษาของมหาวิทยาลัยลอนดอน ได้รับการยอมรับให้เป็นหลักสู ตรการศึกษาระดับสาก ด้วยจำนวนนักเรียนมากกว่า 50,000 คน ในกว่า 180 ประเทศ ซึ่งหลักสูตรการศึกษาของมหาวิ ทยาลัยลอนดอนได้รับการสนับสนุน ดำเนินการสอนและติวโดยคณาจารย์ ที่ผ่านการยอมรับของมหาวิทยาลั ยลอนดอน
เหล่าคณาจารย์ในวิทยาลั ยและโรงเรียน (colleges) ในเครือข่ายทั้ง 17 แห่งของมหาวิทยาลัยลอนดอนเป็นผู ้พัฒนาหลักสูตร เตรียมการเรียนการสอน และเป็นผู้ประเมินผู้เรียน ดังนั้นผู้เรียนจะได้รั บประโยชน์จากการเรียน และงานวิจัยชั้นนำจากเหล่ าคณาจารย์ผู้มีความเชี่ยวชาญได้ อย่างเต็มที่ อันเป็นสิ่งที่สามารถยืนยันได้ ว่า ไม่ว่านักเรียนจะเข้าเรียนหลั กสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลั ยลอนดอนในสถานที่ใด ในลอนดอนหรือในกรุงเทพ มาตรฐานการเรียนรู้จะยั งคงมาตราฐานระดับสากลไว้ในหลั กสูตรการศึกษาสำหรับปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ การบริหารจัดการ การเงิน และสังคมศาสตร์ (EMFSS) เนื้อหาของทุกวิชาและการควบคุ มคุณภาพการเรียนรู้จะถู กกำหนดและกำกับโดยวิทยาลั ยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่ งลอนดอน (London School of Economics and Political Science – LSE) ส่วนหลักสูตรพื้นฐานในวิชาที่ สำคัญ (IFP) จะถูกกำหนดและกำกับโดยมหาวิ ทยาลัยลอนดอนโดยตรง ซึ่งเมื่อผู้เรียนสำเร็จการศึ กษาจะได้รับปริญญาบัตรหรื อประกาศนียบัตรจากมหาวิทยาลั ยลอนดอนโดยตรง ไม่ใช่จากสถาบันการศึ กษานานาชาติรีเจ้นท์ในกรุงเทพ โดยในใบประกาศจะระบุว่า ผู้เรียนได้ลงทะเบียนและสอบผ่ านหลักสูตรของมหาวิทยาลัยลอนดอน (UOL) ซึ่งกำกับและรับรองโดยวิทยาลั ยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่ งลอนดอน (LSE)
ดร.วีระชัย เตชะวิจิตร์ ประธานกรรมการสถาบันการศึ กษานานาชาติรีเจ้นท์ กล่าวว่า “ในฐานะที่เรามีความเป็นเลิศด้ านการสอนหลักสูตรการศึ กษานานาชาติแบบอังกฤษที่มี มาตรฐานสูงมากว่า 20 ปีแล้ว และเมื่อปีที่แล้ว โรงเรียนนานาชาติรีเจ้นท์ถูกจั ดอันดับให้เป็นสถาบันที่นักเรี ยนสอบได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุ ดในประเทศไทยในหลักสูตร International Baccalaureate (IB) การที่จะมีโอกาสได้สอนและติวหลั กสูตรระดับโลกของ UOL และ LSE เรามีความภาคภูมิใจที่จะได้ให้ การศึกษาแบบครบวงจรเพื่ อตอบสนองความต้องการของนักเรี ยนที่ผู้ปกครองไม่พร้อมที่จะให้ บุตรธิดาไปเรียนไกลถึงลอนดอนทั้ งๆ ที่มีความสามารถ โดยการสอนและติวหลักสู ตรของมหาวิทยาลั ยลอนดอนในประเทศไทยในอาเซียน ดำเนินการโดย UOL และ LSE ซึ่งเป็นผู้ออกและตรวจข้อสอบเอง อีกทั้ง UOL-LSE ยังเป็นผู้ออกใบปริ ญญาและประกาศนียบัตรเอง ผมจึงเชื่อมั่นว่า หลักสูตรการศึกษานี้ จะดึงดูดผู้เรียนทั้ งในประเทศไทยและในอาเซียน ที่ต้องการประสบความสำเร็ จในการทำงานได้เป็นอย่างดี”
มร. มาร์ค เคนท์ เอกอัครราชทูตอั งกฤษประจำประเทศไทย กล่าวว่า “สหราชอาณาจักรเป็นต้นกำเนิ ดของมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุ ดในโลกหลายแห่งและได้รั บการยอมรับว่าเป็นผู้นำด้ านสถาบันการศึกษาระดับโลก โดยการได้รับปริญญาบัตรจากมหาวิ ทยาลัยลอนดอนโดยตรงจะช่วยให้พนั กงานนั้นได้รับการยอมรับเป็นอย่ างมาก ผมจึงมีความภาคภูมิใจอย่างยิ่ งที่หลักสูตรการศึกษาที่มีคุ ณภาพสูงมากนี้ได้เข้ามาช่วยเติ มเต็มความฝันให้แก่ผู้ที่สนใจศึ กษาหลักสูตรที่ดีเหล่านั้ นในประเทศไทย”
มร.นิธิน ดุตตา ผู้อำนวยการบริหารโครงการนี้ ที่สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้ นท์ กล่าวว่า “เรามีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที ่โรงเรียนได้พั ฒนาตนเองจนสามารถได้เป็นหน่ วยสอนและติวหลักสูตรการศึกษาอั นมีชื่อเสียงระดับโลกของ UOL - LSE การที่นักเรียนไม่ต้ องไปลำบากในลอนดอนเมื่อเพี ยงอายุ 18 โดยได้เรียนหลักสูตรระดับโลกที่ บ้านตนเอง ผู้ปกครองทุกท่านต้องชอบอย่ างแน่นอน ซึ่งหลักสูตรของมหาวิทยาลั ยลอนดอนดังที่กล่าวมานี้จะช่ วยสร้างความแข็งแกร่งให้แก่กลุ่ มสถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้ นท์ ผมเชื่อมั่นว่าจะมีนักศึ กษาจำนวนมากสนใจเข้าร่วมเป็นส่ วนหนึ่งในการเรียนหลักสูตรนี้ เพราะโรงเรียนนานาชาติ เดอะ รีเจนท์ ได้นำเสนอหลักสูตรการศึกษาที่ดี เยี่ยมให้แก่นักเรียนชาวไทยทุ กเพศ ทุกวัยมาอย่างยาวนานและยังคงมุ่ งมั่นให้การส่งเสริมต่อไปด้ วยหลักสูตรการศึกษาอันยอดเยี่ ยมจากมหาวิทยาลัยลอนดอน”
ปริญญาบัตรจากมหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นเลิ ศ ซึ่งได้รับการยอมรับจากเหล่ านายจ้างและมหาวิทยาลัยทั่ วโลกเป็นอย่างดี เนื่องจากมหาวิทยาลัยลอนดอนเป็ นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มี มาตรฐานด้านการศึกษาระดับสู งจนเป็นที่ยอมรับทั่วโลก อันมาจากชื่อเสียงด้านผลการเรี ยนการสอนและงานวิจัยที่โดดเด่ นจากสถาบันระดับโลกต่างๆ ที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก จำนวนกว่า 17 สถาบัน และสถาบันเฉพาะทางกว่า 10 สถาบัน
สถาบันการศึกษานานาชาติรีเจ้นท์ (RIC) มีต้นกำเนิดมาจากโรงเรี ยนนานาชาติ เดอะ รีเจนท์ กรุงเทพฯ ในประเทศไทย ซึ่งมีศูนย์การเรียนการสอน 3 แห่ง ได้แก่ พัทยา (ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2538) กรุงเทพฯ (ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2543) และสหราชอาณาจักร (ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552) ทั้งนี้หลักสูตรการศึ กษาของมหาวิทยาลัยลอนดอนจะเปิ ดทำการสอน ณ ศูนย์การเรียนการสอนกรุงเทพฯ
สามารถเข้าชมรายละเอียดเพิ่มเติ มเกี่ยวกับหลักสูตรของมหาวิ ทยาลัยลอนดอน ได้ที่ http://www. londoninternational.ac.uk และที่ www.ricbkk.com/UOL-LSE
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
loading...
นิยม
บทความ
-
►
2017
(43)
- ► กุมภาพันธ์ (7)
-
►
2016
(362)
- ► กุมภาพันธ์ (13)
-
►
2015
(77)
- ► กุมภาพันธ์ (6)
-
►
2014
(192)
- ► กุมภาพันธ์ (5)
-
►
2013
(57)
- ► กุมภาพันธ์ (5)
-
►
2012
(194)
- ► กุมภาพันธ์ (2)
-
►
2011
(272)
- ► กุมภาพันธ์ (43)
-
►
2010
(873)
- ► กุมภาพันธ์ (60)
loading...