แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ราชภัฎ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ราชภัฎ แสดงบทความทั้งหมด
#รับตรง59 ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
รับสมัครนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี รับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคปกติ ปีการศึกษา 2559 มหาวิท...รับตรง มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ภาคปกติ 57 รอบที่ 2
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี รับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2557 ประเภทรับตรง (ร...รับตรง คณะพยาบาลศาสตร์ ม.ราชภัฏร้อยเอ็ด 2556
กำหนดการรับสมัครนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ภาคปกติ ประเภทรับตรง ประจำปีการศึกษา 2556 กิจกรรม วัน/...รับตรง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2556
ประเภทรับสมัครเลือก ภาคปกติ ประเภททุนเพชรสุนันทา ประจำปีการศึกษา 2556 ...รับตรง มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2556
ด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จะดำเนินการรับสมัครนักศึกษาภาคปกติ ระดับปริญญาตรี เพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยรา...118ปีการฝึกหัดครูฯมรภ.ไม่หยุดผลิต
ครู 5.5 หมื่น สอนไม่ตรงวุฒิรั้งคุณภาพ
จากงานรำลึกวันสถาปนาการฝึกหัดครูไทย ครบรอบ 118 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เมื่อวันที่ 29 ก.ย. ศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (มสด.) ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีมหา วิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ (ทปอ.มรภ.) กล่าวบรรยายพิเศษเรื่อง อนาคต มรภ. ว่า การผลิตครูถือเป็นหัวใจสำคัญและภารกิจของ มรภ. ทั่วประเทศที่จะทิ้งไม่ได้ มรภ.ต้องเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยทบทวนดูว่าแต่ละแห่งเก่งด้านใดมากที่สุด ทั้งนี้อนาคตของมหาวิทยาลัยจะไปในทิศทางใดก็ขึ้นอยู่กับบุคลากร ที่จะต้องเลือกผู้นำที่มีลักษณะที่ตนเองต้องการ
รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานดำเนินงานสวน ดุสิตโพล กล่าวว่า จากการสำรวจความคิดเห็นของครู อาจารย์ และ ประชาชนทั่วประเทศ จำนวน 1,104 คน เกี่ยวกับการพัฒนาและเสริมสร้างวิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่าง 31.58% เห็นว่าสถาบันการศึกษาจะผลิตครูให้มีคุณภาพได้ ต้องคัดเลือกผู้ที่มีความตั้งใจจริงมาเป็นครู หรือคัดคนเก่งและคนดี 33.42% เห็นว่าคุรุสภาควรจะออกข้อบังคับต่าง ๆ ที่ได้มาตรฐาน จึงจะได้ครูมีประสิทธิภาพ และ 36.58% เห็นว่าต้องมีการให้ทุนสนับสนุนแก่ผู้ที่สนใจศึกษาต่อ หรือ ต้องการความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
ด้าน ดร.ปัญญา แก้วกียูร ที่ปรึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กล่าวว่า จากข้อมูลงานวิจัยของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย พบว่า ครูไทยส่วนใหญ่มีจำนวนชั่วโมงสอนหนังสือ มากกว่าหลักเกณฑ์ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) กำหนดไว้ 25 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ และมีจำนวนนักเรียนเฉลี่ยมากกว่า 40 คนต่อห้อง ซึ่งเป็นเพราะเราขาดแคลนครูประมาณ 40,000 คน ขณะเดียวกันก็มีครูที่สอนไม่ตรงวุฒิหรือวิชาเอก ประมาณ 55,000 คน สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้คุณภาพการเรียนการสอนลดลง.
ข่าว http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=42&contentID=95111
จากงานรำลึกวันสถาปนาการฝึกหัดครูไทย ครบรอบ 118 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เมื่อวันที่ 29 ก.ย. ศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (มสด.) ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีมหา วิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ (ทปอ.มรภ.) กล่าวบรรยายพิเศษเรื่อง อนาคต มรภ. ว่า การผลิตครูถือเป็นหัวใจสำคัญและภารกิจของ มรภ. ทั่วประเทศที่จะทิ้งไม่ได้ มรภ.ต้องเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยทบทวนดูว่าแต่ละแห่งเก่งด้านใดมากที่สุด ทั้งนี้อนาคตของมหาวิทยาลัยจะไปในทิศทางใดก็ขึ้นอยู่กับบุคลากร ที่จะต้องเลือกผู้นำที่มีลักษณะที่ตนเองต้องการ
รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานดำเนินงานสวน ดุสิตโพล กล่าวว่า จากการสำรวจความคิดเห็นของครู อาจารย์ และ ประชาชนทั่วประเทศ จำนวน 1,104 คน เกี่ยวกับการพัฒนาและเสริมสร้างวิชาชีพครู กลุ่มตัวอย่าง 31.58% เห็นว่าสถาบันการศึกษาจะผลิตครูให้มีคุณภาพได้ ต้องคัดเลือกผู้ที่มีความตั้งใจจริงมาเป็นครู หรือคัดคนเก่งและคนดี 33.42% เห็นว่าคุรุสภาควรจะออกข้อบังคับต่าง ๆ ที่ได้มาตรฐาน จึงจะได้ครูมีประสิทธิภาพ และ 36.58% เห็นว่าต้องมีการให้ทุนสนับสนุนแก่ผู้ที่สนใจศึกษาต่อ หรือ ต้องการความก้าวหน้าในวิชาชีพครู
ด้าน ดร.ปัญญา แก้วกียูร ที่ปรึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กล่าวว่า จากข้อมูลงานวิจัยของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย พบว่า ครูไทยส่วนใหญ่มีจำนวนชั่วโมงสอนหนังสือ มากกว่าหลักเกณฑ์ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) กำหนดไว้ 25 ชั่วโมงต่อคนต่อสัปดาห์ และมีจำนวนนักเรียนเฉลี่ยมากกว่า 40 คนต่อห้อง ซึ่งเป็นเพราะเราขาดแคลนครูประมาณ 40,000 คน ขณะเดียวกันก็มีครูที่สอนไม่ตรงวุฒิหรือวิชาเอก ประมาณ 55,000 คน สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้คุณภาพการเรียนการสอนลดลง.
ข่าว http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=42&contentID=95111
ราชภัฎลำปางเจ๋งใช้หลักธรรมคู่บริหารธุรกิจ
คณะวิทยาการจัดการ ม.ราชภัฎ ลำปาง เจ๋ง ใช้หลักธรรมควบคู่กับศาสตร์บริหารธุรกิจ
อาจารย์ ปิยะ วัตถพาณิชย์ ประธานสาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เผยว่า สาขาวิชาการจัดการทั่วไปได้จัดการบูรณาการการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษาใน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ชั้นปีที่ 3 ซึ่งเป็นกลุ่มนักศึกษาที่ใกล้จะสำเร็จการศึกษาในอีกไม่ถึงหนึ่งปีข้างหน้า โดยได้นำหลักธรรมคำสอนของกระพุทธศาสนาเข้ามาบูรณาการกับศาสตร์ทางด้านการ บริหารจัดการทางธุรกิจ เพื่อให้นักศึกษาได้นำหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน หรือการเรียนการสอนทางด้านการบริหารธุรกิจ
“ทั้งนี้ ได้อาราธนาพระอธิการ ดร.บัณฑิต ปิยธัมโม เจ้าอาวาสวัดป่ารวก ต.หัวเวียง อ.เมือง จ.ลำปาง ซึ่งสำเร็จการศึกษาสาขาปรัชญา ระดับปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย เป็นองค์บรรยายพิเศษในหัวข้อ หลักธรรมทางพุทธศาสนากับการดำเนินธุรกิจ โดยมีนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 120 คน เข้ารับฟัง การบรรยายดังกล่าว เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ ที่สร้างการมีส่วนร่วมจากสังคม และเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมแก่นักศึกษา ตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิต และนักธุรกิจในอนาคตที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมต่อไป ซึ่งเป็นไปตามพันธกิจของคณะวิทยาการจัดการ และทางมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ในการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในศาสตร์ และสาขาวิชาที่ศึกษาอยู่ รวมทั้งมีคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบการปฏิบัติงาน หรือที่เรียกกันว่า มีความรู้คู่คุณธรรม”.
ข่าว/ภาพ เดลินิวส์
อาจารย์ ปิยะ วัตถพาณิชย์ ประธานสาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เผยว่า สาขาวิชาการจัดการทั่วไปได้จัดการบูรณาการการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษาใน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ชั้นปีที่ 3 ซึ่งเป็นกลุ่มนักศึกษาที่ใกล้จะสำเร็จการศึกษาในอีกไม่ถึงหนึ่งปีข้างหน้า โดยได้นำหลักธรรมคำสอนของกระพุทธศาสนาเข้ามาบูรณาการกับศาสตร์ทางด้านการ บริหารจัดการทางธุรกิจ เพื่อให้นักศึกษาได้นำหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน หรือการเรียนการสอนทางด้านการบริหารธุรกิจ
“ทั้งนี้ ได้อาราธนาพระอธิการ ดร.บัณฑิต ปิยธัมโม เจ้าอาวาสวัดป่ารวก ต.หัวเวียง อ.เมือง จ.ลำปาง ซึ่งสำเร็จการศึกษาสาขาปรัชญา ระดับปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย เป็นองค์บรรยายพิเศษในหัวข้อ หลักธรรมทางพุทธศาสนากับการดำเนินธุรกิจ โดยมีนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 120 คน เข้ารับฟัง การบรรยายดังกล่าว เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ ที่สร้างการมีส่วนร่วมจากสังคม และเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมแก่นักศึกษา ตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิต และนักธุรกิจในอนาคตที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมต่อไป ซึ่งเป็นไปตามพันธกิจของคณะวิทยาการจัดการ และทางมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ในการผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในศาสตร์ และสาขาวิชาที่ศึกษาอยู่ รวมทั้งมีคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบการปฏิบัติงาน หรือที่เรียกกันว่า มีความรู้คู่คุณธรรม”.
ข่าว/ภาพ เดลินิวส์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
loading...
นิยม
บทความ
-
►
2017
(43)
- ► กุมภาพันธ์ (7)
-
►
2016
(362)
- ► กุมภาพันธ์ (13)
-
►
2015
(77)
- ► กุมภาพันธ์ (6)
-
►
2014
(192)
- ► กุมภาพันธ์ (5)
-
►
2013
(57)
- ► กุมภาพันธ์ (5)
-
►
2012
(194)
- ► กุมภาพันธ์ (2)
-
►
2011
(272)
- ► กุมภาพันธ์ (43)
-
►
2010
(873)
- ► กุมภาพันธ์ (60)
loading...